Thu, 2010-11-04 23:20
ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี**
ไม่ใช่ครั้งแรกที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งด้วยเจตนาของกษัตริย
หากสังเกตแล้ว คณะที่ทำการผลิตบัณฑิตรายแรกๆ คือ วิศวกรรมศาสตร์ และรัฐศาสตร์ อันมีจุดมุ่งหมายคือการสร้างทางรถไฟ (นำเทคโนโลยีจากเยอรมัน) และกลไกการควบคุม “ไพร่” สมัยใหม่ (กลไกการศึกษาแบบอังกฤษ) ภายใต้แนวคิดพลเมืองที่สังกัดกับอำนาจส่วน
มหาวิทยาลัยแห่งนี้กลายเป็นเครื่องหมายของ
หลังสงครามโลกครั้งที่สองการก่อตั้งมหาวิท
หลังจากการปราบปรามนักศึกษาและความคิดฝ่าย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกลายเป็นมหาวิทยาลัย
หากเปลี่ยนมามองในมิติอื่นๆ แล้ว ที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เมื่อพิจารณาแล้วเป็นที่ตั้งที่ไม่ค่อยสมด
แม้จะเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความคิดอนุรักษ์
ในกรณีหาบเร่สยามสแควร์ ที่ทางมหาวิทยาลัยตั้งประเด็นว่า สร้างความเดือดร้อนให้กับผู้ประกอบการรายใ
นักเคลื่อนไหวจำนวนไม่น้อย อาจตั้งข้อสงสัยว่าหาบเร่แผงลอยเหล่านี้คื
การจัดระเบียบจำเป็นต้องเกิดขึ้น แต่หาใช่การจัดระเบียบบนฐานของกรรมสิทธิ์ มูลค่าแลกเปลี่ยนผ่านการเช่า และกลไกราคาตลาด มิเช่นนั้นวิถีชีวิตของคนจนก็จะถูกกำหนดให
เหตุการณ์เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมาไม่อา
-----------------------
1 ต้องอย่าลืม จิตร ภูมิศักดิ์ ตัวแบบ ขบวนการนักศึกษายุค1970 ปัญญาชนนอกคอกของรั้วจามจุรี ที่ถูกโยนบกโดยนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
2 ขณะที่กระแส ปรีดี-ป๋วยนิยม ในธรรมศาสตร์กลายเป็นการกราบไหว้อนุสาวรีย
3 เป็นห้างสรรพสินค้าที่เชื่อมกับรถไฟใต้ดิน
4 ขึ้นจาก 8,500บาทต่อเทอม เป็น 14,000 บาท ในสายสังคมศาสตร์
5 ที่ปรากฏเห็นจะเป็น สาขามานุษยวิทยา ในภาควิชาสังคมวิทยา คณะรัฐศาสตร์
-----
*ที่มาบทความ http://www.prachatai3.info/journal/2010/
**ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ปัจจุบันเป็นนิสิตปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นสมาชิกกลุ่มประกายไฟ
ที่มาภาพโดย น้ำ ประกายไฟ ( 30 ตุลาคม 53 ดู http://www.facebook.com/photo.php?fbid=4
ซึ่งมีคำบรรยายใต้ภาพว่า "มีชายฉกรรจ์น่าตาน่ารักน่าเอ็นดู สวมเสื้อสีชมพูสดใสติดตราจุฬาฯ กระจายตัวตามทางเดินของสยาม ทำหน้าที่ "เฝ้าระวัง" พ่อค้าแม่ค้าแผงลอย พร้อมติดป้ายว่า "นี่เป็นที่ของจุฬาฯนะจ๊ะ อย่ามาแหยม" โอ้ เกียรติภูมิจุฬาฯ!" (น้ำ ประกายไฟ)